วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2552

http://กัลยาณี แก้วกัญจะ โรงเรียนเมืองเชลียง





คนไทยร่วมกิจกรรม 9 ในดวงใจ

นายกฯชวนคนไทยร่วมกิจกรรม 9 ในดวงใจ 9 ก.ย.นี้6/9/2552นายกรัฐมนตรี เชิญชวนคนไทยร่วมกิจกรรม 9 ในดวงใจ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวันที่ 9 เดือน 9 ปี 09 เวลา 9.09 นาทีในรายการเชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯอภิสิทธิ์วันนี้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี สวมเสื้อยืดคอปก ปักหน้าอก 9 ในดวงใจ เพื่อรณรงค์ในโครงการนี้ โดยขอให้ประชาชนและทุกหน่วยงานร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีในวันพุธที่ 9 กันยายนนี้ เวลา 9 นาฬิกา 9 นาที ซึ่งถือเป็นเลขมงคล 9/09/09/ 9.09 น.
ที่มาhttp://www.krobkruakao.com/kkn/?a=news&s=detail&news_id=8177
เขียนโดย กัลยาณ แก้วกัญจะ1 ความคิดเห็น

http://www.rongjo.com/http://www.kruthai.info/main/http://www.kroobannok.com/
เขียนโดย ด.ญ.กัลยาณี แก้วกัญจะ0 ความคิดเห็น
บทความที่เก่ากว่า
สมัครสมาชิก: บทความ (Atom)
1/3
เด็กชาย กิตติพงศ์ แก้วนาค

เด็กชาย จเร เขาวิเศษ

เด็กชาย จิรวัฒน์ บุรี

ด็กชาย ทนงศักดิ์ นิราศ

เด็กชาย ทัศนัย ใยไม้

เด็กชาย นิรุทธ์ แก้วกุลศรี

เด็กชาย ปฏิธาร พิงชัยภูมิ

เด็กชายพงศกร ท้าวนาม

เด็กชาย วราเทพ สุภานุสร

เด็กชาย วัชรพงษ์ ดงดอน

เด็กชาย สิทธิพร ทองธรรม

เด็กชาย สืบวงศ์ รอสูงเนิน

เด็กชาย สุทธิพงษ์ ดีอ่อน

เด็กชาย อภิรมย์ โอ่งอิน

เด็กชาย อิทธิพร มีแก้ว

เด็กหญิง กนกพร คชสิงห์

เด็กหญิง กนกพร ประชัน

เด็กหญิง กนกวรรณ โนนพยอม

เด็กหญิง กมลวรรณ จีทา

เด็กหญิง กัลยาณี แก้วกัญจะ

เด็กหญิง เจนจิรา ทองดี

เด็กหญิง ชไมพร ดงดอน

เด็กหญิง ทัดดาว ช่างเจรจา

เด็กหญิง ธนธรณ์ ยงญาติ

เด็กหญิง ปพิชญา เชาว์ดี

เด็กหญิง พรธิภา ยอดแย้ม

เด็กหญิง พัชรินญา นิระโทษะ

เด็กหญิง แพรวพรรณ ชมโฉม

เด็กหญิง มธุรส สุวรรณี

เด็กหญิง มัสลิตตา เคราะห์ดี

เด็กหญิง ลักขณา นิตรา

เด็กหญิง วราภรณ์ ทุนมาก

เด็กหญิง สิรินยา มหาภาส

เด็กหญิง สุดารัตน์ แซ่ลี

เด็กหญิง สุทธิกานต์ รื่นกลิ่น

เด็กหญิง แสงระวี เข็มทิศ

เด็กหญิง หทัยชนก สุขย่น

เด็กหญิง หนึ่งฤทัย มโหธร

เด็กหญิง อภิญญา สีแดง

เด็กหญิง ปิ่นอนงค์ เอี่ยมจิตร




วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2552

วันจันทร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2552


Backward Design
http://emotopzaa.blogspot.com/
skooolthai
กรมอุตุนิยมวิทยา
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
ข่าวสด
ครูจูดี้ โรงเรียนสุพีเรีย รัฐวิคอนซิน สหรัฐอเมริกา
ครูฉลิต ฉายกี่ โรงเรียนเมืองเชลียง
ครูบ้านนอก
ครูประนอม ฉายกี่
ครูราตรี โรงเรียนเมืองเชลียง
ครูวันเพ็ญ โรงเรียนเมืองเชลียง
ครูวีระศักดิ์
ครูไทย
ครูไทยแลนด์ดอทเน็ต
ความรู้อุตุนิยมวิทยา
จิระวัฒน์ บุรี 1/3
ผอ.คณิตพันธ์
ผอ.เฟรด สหรัฐอเมริกา
พระอภัยมณี
พันธะเคมี
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
มติชน
ระบบประสาท
ศูนย์...ไม่ศุนย์
สอบครูดอทเน็ต
สังข์ทอง
ห้อง 4/2 โรงเรียนเมืองเชลียง
ห้อง 6/2 โรงเรียนเมืองเชลียง
อ.จิระ งอกศิลป์
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
เดลี่นิวส์
โลกและดาราศาสตร์
ไทยรัฐ

คลังบทความของบล็อก
2009 (95)
สิงหาคม (5)
ที่มา www.il.mahidol.ac.th/.../reduction_potentia...
ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน อยู่คู่กับพระบาท...
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
1.สสาร (Matter) หมายถึง สิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู...
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ โครงสร้างอะตอม โครงสร...
กรกฎาคม (12)
ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ด้วยเกล้าด้วยกระ...
ในพืชเราเรียกการหายใจว่าการแลกเปลี่ยนก๊าซ ราก ลำต้...
1. การเคลื่อนไหวเพื่อตอบสนองสิ่งเร้าภายนอก สิ่งเร้...
ด่วน! สพฐ.ประกาศสอบภาค ก ผอ.ร.ร./รอง ผอ.ร.ร. สมัคร...
สุริยุปราคาเต็มดวง 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เป็นปรากฏ...
สุริยุปราคา 22 กรกฎาคม 2552 วรเชษฐ์ บุญปลอด เช้าว...
การถ่ายละอองเกสร การถ่ายละอองเกสร คือ วิธีการที่...
ดอกไม้เป็นส่วนประกอบสำคัญของพืช
ส่วนประกอบของดอกไม้ ในดอกครบส่วน (completed flo...
การสืบพันธุ์ คือ กระบวนการของสิ่งมีชีวิตในการสร้า...
วันเข้าพรรษา วันแรม 1 ค่ำเดือน 8 จนถึงกลางเดือน 11...
วันอาสาฬหบูชา วันเพ็ญ (ขึ้น ๑๕ ค่ำ) เดือน ๘
มิถุนายน (10)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
โครงสร้างและการทำงานของระบบลำเลียงของพืช
การลำลียงน้ำ แร่ธาตุและอาหารของพืช ในดินมีน้ำอยู่บ...
ราก
การอบรม ICT ครูวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา รร.สุโขท...
ไหว้ครู2552
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์เยื่อผ่าน คือ การลำเล...
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/เซลลà¹...
ออร์แกเนลล์ ที่มา http://images.google.co.th/img...
เซลล์พืช
พฤษภาคม (17)
ประวัติการค้นคว้าเรื่องเซลล์
เซลล์
ที่มา http://weerasak.net/image/JJ.gif การใ...
ที่มาhttp://techno.obec.go.th/content/PhysicNucle...
พระอภัยมณี
ที่มาhttp://jove.prohosting.com/namtarn/
lesa project
นักวิทยาศาสตร์ของโลก
ที่มา http://www.tmd.go.th/index.php
แนะนำ น่าอ่าน
ที่มา http://www3.ipst.ac.th/physics/index.php?o...
คู่มือการวัดผลวิทยาศาสตร์ วัดผลและประเมินผลวิทยาศา...
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (แบบ 5 E) กระบวนการสืบเส...
ลักษณะอากาศทั่วไป หย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมด้านตะว...
ประกาศเตือนภัย "ฝนตกหนักบริเวณประเทศไทย" ฉบับที่ ...
จะเกิดวิกฤติโลกปี ค.ศ. 2030ผู้นำสูงสุดทางวิทยาศาสต...
อเมริกันตกงานหันไปเรียนออนไลน์สำนักข่าวซีเอ็นเอ็น ...
เมษายน (9)
เยียวยา คศ.3 ทุกระดับ
มาเตรียมตัวก่อนเยียวยากันเถอะ(ตอนที่ 2 ตามหลักสูตร...
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์มีบทบาท...
อุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย
วันที่ วิชา ค่าอบรม (บาท) 25 เม.ย 2552 _ การจัดดอก...
บีบีซีชี้ชัดเสื้อแดงก่อจลาจลไม่ใช่ประชาธิปไตย
มีนาคม (4)
กุมภาพันธ์ (10)
มกราคม (28)
2008 (25)
ธันวาคม (13)
พฤศจิกายน (12)


ghaph
captivat
http://www.ipst.ac.th/science/

ภาพถ่ายดาวเทียม : พยากรณ์อากาศ
หลักการถ่ายภาพเบื้องต้น
หลักการถ่ายภาพเบื้องต้น -1
ถ่ายภาพสินค้าแบบง่ายสไตล์ดิจิตัล
ไกด์ไลน์สำหรับการวางตำแหน่งในการถ่ายภาพ
ทดสอบการวางตำแหน่งภาพให้เป็นไปตามกฏ
ตัวอย่างภาพของกฏ Rule of Thirds
เรียนรู้การปรับกล้องก่อนใช้งานด้วยภาพจริง
ตำราการถ่ายภาพเบื้องต้น
อยากถ่ายรูปให้สวย+เข้าใจวิธีการถ่ายภาพให้ได้ดี มาอ่านที่นี่ครับ
พยากรณ์อากาศประเทศไทย
เทคนิคการถ่ายภาพ
ทดสอบเลนส์ CANON (EF-S 18-55 IS)
(บันทึก) การขี่จักรยานมาทำงานของ-เสือพุงขาว
BlogGang.com
ที่มาhttp://www.bloggang.com/mainblog.php?id=chs&month=18-12-2008&group=31&gblog=14

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เคมีบ้านครูยุธ
ฟิสิกส์ราชมงคล
ประวัตินักวิทยาศาสตร์
เคมีบ้านครูยุธ

ค้นหา
สนับสนุนโดย
#uds-searchControl .gs-result .gs-title,
#uds-searchControl .gs-result .gs-title *,
#uds-searchControl .gsc-results .gsc-trailing-more-results,
#uds-searchControl .gsc-results .gsc-trailing-more-results * {
color:#669922;
}
#uds-searchControl .gs-result .gs-title a:visited,
#uds-searchControl .gs-result .gs-title a:visited * {
color:#669922;
}
#uds-searchControl .gs-relativePublishedDate,
#uds-searchControl .gs-publishedDate {
color: #555544;
}
#uds-searchControl .gs-result a.gs-visibleUrl,
#uds-searchControl .gs-result .gs-visibleUrl {
color: #669922;
}
#uds-searchControl .gsc-results {
border-color: #555544;
background-color: #ffffff;
}
#uds-searchControl .gsc-tabhActive {
border-color: #555544;
border-top-color: #555544;
background-color: #ffffff;
color: #555544;
}
#uds-searchControl .gsc-tabhInactive {
border-color: #555544;
background-color: transparent;
color: #669922;
}
#uds-searchClearResults {
border-color: #555544;
}
#uds-searchClearResults:hover {
border-color: #555544;
}
#uds-searchControl .gsc-cursor-page {
color: #669922;
}
#uds-searchControl .gsc-cursor-current-page {
color: #555544;
}


การเตรียมตัวเพื่อทำผลงานทางวิชาการทุกท่านที่จะทำผลงานทางวิชาการต้องมีการเตรียมพร้อมดังนี้ครับ....
คู่มือการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระจะเตรียมตัวทำผลงาน ต้องมีการวิเคราะห์หลักสูตร และจำเป็นต้องใช้ข้อมูลเหล่านี้ครับ....1. ตัวอย่างการวิเตราะห์หลักสูตรก่อนเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ตัวอย่างงานที่ผ่านการตรวจ2. ตัวอย่าง แผนการจัดการเรียนรู้3. ตัวอย่าง บันทึกผลหลังสอน3.1 ตัวอย่างแผน STAD 3.2 ตัวอย่างแผน CIPPA 3.3 ตัวอย่างแผน Backwards++จะค่อยนำขึ้นเรื่อยๆครับ++4. วิธีเขียน /ตัวอย่างรายงานบทที 15. วิธีเขียน /ตัวอย่างรายงาน บทที่ 26. วิธีเขียน /ตัวอย่างรายงาน บทที่ 37. วิธีเขียน /ตัวอย่างรายงาน บทที่ 48. วิธีเขียน /ตัวอย่างรายงาน บทที่ 59. ตัวอย่าง การเขียนบทคัดย่อ10.ตัวอย่าง การเขียนบรรณานุกรม10.1 การจัดเรียงภาคผนวก 10.2 แบบประเมินของผู้เชี่ยวฃาญ11. ตัวอย่าง การเขียน วฐ.2/112. ตัวอย่างนวัตกรรม12.1 ตัวอย่าง บทเรียนสำเร็จรูป
12.2 ตัวอย่าง วีดิทัศน์12.3 ตัวอย่าง เอกสารประกอบ13. การหาค่าของคะแนนแบบง่าย14. ตัวอย่างคู่มือการใช้เแบบฝึกฯ15. การใช้ Font สำหรับนวัตกรรม.

















































การสร้างที่เก็บน้ำด้วยไม้ไผ่
เครื่องสานจากไม้ไผ่ไม่ว่าจะเป็นรูปร่างอย่างไรก็ตามสามารถทำ ให้เป็นภาชนะสำหรับเก็บน้ำได้ โดยการนำมาฉาบด้วย “ฟลิ้นโค้ท” ซึ่งเป็น สารผสมที่ทำมาจากยางมะตอยและสารยึดเหนี่ยวหลายชนิด เป็นของเหลว ที่แห้งเร็วมีคราบเหนียว ผสมน้ำได้ แต่เมื่อแห้งแล้วไม่ละลายน้ำ ทนน้ำและ ทนทานต่อความร้อน เย็น ไม่ละลายเมื่อถูกแดดเหมือนยางมะตอย และไม่ ผุกรอบเหมือนชัน จึงมีความทนทานและมีราคาถูก ส่วนเครื่องสานไม้ไผ่ ควรสานให้ทึบที่สุด เพื่อให้ฉาบฟลิ้นโค้ทได้ง่าย วัสดุและอุปกรณ์ 1. เครื่องสานด้วยไม้ไผ่ตามขนาดที่ต้องการ2. ฟลิ้นโค้ทชนิดผสมน้ำหาซื้อได้ตามร้านขายปุ๋ย ขายสีทาบ้าน หรือยาฆ่าแมลงหรือตามปั๊มน้ำมันเชลล์ทั่วไป 3. ผ้าฝ้ายเป็นผ้าเก่าหรือใหม่ก็ได้ หรือกระดาษสา ถ้าหาไม่ได้ก็ ใช้เศษกระดาษทั่วไปแทนก็ได้ 4. แปรงสำหรับใช้ทา หรือจะใช้มือก็ได้ ภาพตัวอย่างเครื่องสานวิธีทาฟลิ้นโค้ทบนเครื่องสานเริ่มทางด้านในก่อนตามลำดับดังนี้ 1. ใช้ฟลิ้นโค้ทผสมน้ำเล็กน้อยทาบาง ๆ ให้ทั่วเป็นชั้นแรก นำไป ผึ่งแดดให้พอหมาด 2. ใช้ฟลิ้นโค้ทล้วน ๆ ทาจนทั่วเป็นชั้นที่สอง ผึ่งแดดแห้งพอหมาด แล้วจึงทาชั้นที่สามให้ทึบ 3. เอาผ้าฝ้ายตัดเป็นชิ้นในขนาดที่ทำสะดวก ชุบน้ำให้เปียกจนทั่ว บีบน้ำทิ้งแล้วชุบฟลิ้นโค้ท แล้วบุด้านในให้ชายผ้าทับกันให้เรียบร้อย ค่อย ๆ ทำไปทีละชิ้นจนแล้วเสร็จ ถ้าเป็นกระดาษสาไม่ต้องชุบน้ำ เมื่อบุดังนี้ เสร็จแล้วรีบทาทันทีเป็นชั้นที่สี่ แล้วตากให้แห้งพอหมาด ๆ 4. ทาฟลิ้นโค้ทล้วน ๆ ทับให้ทั่วเป็นชั้นสุดท้าย ด้านนอก : ทาฟลิ้นโค้ทล้วน ๆ ให้ทั่วสักสองชั้น โดยเว้นระยะผึ่ง แดดเหมือนด้านใน ทั้งสองด้านนี้ใช้เวลาประมาณ 4 ชม. เมื่อเสร็จเรียบร้อย ทุกอย่างแล้ว ให้ตากแดดทิ้งไว้สัก 1 วัน ก็นำมาใส่น้ำได้ น้ำจะไม่มีพิษหรือกลิ่นที่เป็นอันตราย ดื่มหรือใช้ได้ตามความต้องการข้อดีของที่เก็บน้ำแบบนี้คือ ราคาถูกเพราะสานได้เอง มีน้ำหนักเบา ตกไม่แตก ทนทานต่อแดดฝน กันปลวกมอดได้ดีกว่าเครื่องสานอื่น ๆ และ ซ่อมแซมง่ายเมื่อเกิดการรั่วซึมข้อควรระวังเมื่อฟลิ้นโค้ทเปื้อนเสื้อผ้า ต้องรีบขยำน้ำทันที ถ้าปล่อยให้แห้งต้อง ซักด้วยน้ำมันก๊าซ อย่าใช้ภาชนะนี้ใส่น้ำมัน เพราะฟลิ้นโค้ทแบบผสมน้ำนี้ สามารถละลายได้ในน้ำมัน ฟลิ้นโค้ทที่เหลือใช้ควรเก็บไว้ในที่ปกปิดมิดชิด ถ้าเก็บดีจะนำมาใช้ได้อีก ไม้ไผ่ที่นำมาสานต้องมีอายุแก่พอเหมาะที่จะใช้ งานได้ดี เพื่อป้องกันมอด ฝีมือสานก็ต้องดีพอ และถ้าทำขนาดใหญ่ควร มีโครงแข็งแรงเพิ่มขึ้น เมื่อยังไม่แห้งสนิท อย่าให้ถูกน้ำหรือตากฝน เพื่อนเกษตร 6(9), 2522ที่มา http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.tistr.or.th/t/publication/2/55/105-3.gif&imgrefurl=http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp%3Fi1%3D55%26i2%3D26&usg=__pziOyn2SNXYVj6whiNf4ICl2Alg=&h=300&w=536&sz=19&hl=th&start=101&um=1&tbnid=PT8S2jbsTcxVxM:&tbnh=74&tbnw=132&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B3%26ndsp%3D20%26hl%3Dth%26sa%3DN%26start%3D100%26um%3D1
เขียนโดย กัลยาณี แก้วกัญจะ0 ความคิดเห็น
เครื่องกรองน้ำสะอาดแบบชาวบ้าน

การตกผลึก







การตกผลึกการตกผลึก คือ การแยกของผสมที่เป็นของแข็งที่มีสมบัติการละลายในตัวทำละลายต่างกันและได้ไม่เท่ากันทุกอุณหภูมิ มีหลักการ คือ เมื่อนำของผสมละลายในตัวทำละลายต้มสารละลายนั้นจนละลายหมด แล้วทิ้งให้อุณหภูมิลดลง สารที่ละลายน้อยกว่าจะอิ่มตัวแล้วตกผลึกแยกออกมาก่อน เช่น น้ำตาลกับเกลือซิลเวอร์ไนเตรตกับโพแทสเซียมไนเตรต การแยกเกลือโซเดียมคลอไรด์ออกจากน้ำทะเลรูปแสดงตัวอย่างผลึกบางชนิดการสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย คือ การแยกสารโดยอาศัยสมบัติการละลายของสารในตัวทำละลาย ต้องคำนึงถึงตัวทำละลายที่เหมาะสมเพื่อให้ได้สารที่ต้องการในปริมาณมาก มีหลักการดังนี้ - เลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมเพื่อสกัดให้ได้สารที่ต้องการออกมามากและต้องมีสิ่งเจือปนติดน้อยที่สุด และไม่ทำปฏิกิริยากับสารที่ต้องการสกัด- กรณีที่ต้องแยกสารผสมที่มีองค์ประกอบปนกันหลายชนิด ต้องเลือกตัวทำละลายที่ละลายสารใดสารหนึ่งได้มากและอีกสารได้น้อยมาก เพื่อให้เจือปนกันน้อยที่สุด- แยกสารที่ไม่ต้องการออกไป โดยกระบวนการแยกสารต่างๆ เช่น การกรอง เป็นต้น- แยกสารที่ต้องการออกจากตัวทำละลายซึ่งวิธีการนี้จะนิยมใช้สกัดสีจากธรรมชาติ สมุนไพร สกัดน้ำมันหอมระเหย เป็นวิธีการที่ประหยัดและปลอดภัย
เขียนโดย กัลยาณี แก้วกัญจะ 0 ความคิดเห็น



























คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลศิริราช โดย ศจ.นพ. ร่มไทร สุวรรณิก ได้คิดค้นเครื่องกรองน้ำเสียให้เป็นน้ำบริสุทธิ์แบบประหยัด ด้วยวิธีการ ง่าย ๆ และลงทุนในราคา 300-400 บาท
1. อุปกรณ์
ก. โอ่งหรือถัง สูงประมาณ 18 นิ้ว (อาจจะมากกว่าก็ได้) จำนวน 3 ใบ
ข. สายยางใส เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 ซม. ยาว 2 เมตร
ค. ขั้วต่อสายยาง คอยปรับระดับน้ำให้ไหลมากหรือน้อย 2 อัน สายยางและต้นขั้วต่อสายยางนั้นอาจใช้ชุดของ สายน้ำเกลือนำมาใช้ได้เลย ซึ่งสามารถขอได้ตาม โรงพยาบาลต่าง ๆ ซึ่งมีที่ปรับเร่งให้ไหลเร็วหรือช้า ก็ได้
2. วิธีเจาะ
ก. เจาะตุ่มด้วยฆ้อนกับตะปู กว้างพอกับสายยาง
ข. โอ่งหรือถังใบที 1 เจาะ 1 รู สูงจากก้นโอ่ง 2 นิ้ว
ค. โอ่งหรือถังใบที่ 2 และ 3 เจาะ 2 รู รูล่างให้เสมอกับ โอ่ง รูบนวัดจากปากโอ่งลงมา 2-3 นิ้ว








รูปที่ 1 แสดงการเจาะตุ่มหรือโอ่ง ต่อสายยาง และการบรรจุกรวดและทราย
3. ต่อสายยาง
ก. ต่อสายยางจากรูที่ก้นโอ่งใบที่ 1 กับสายยางที่รูก้นโอ่ง ใบที่ 2 โดยใช้ขั้วต่อ
ข. ต่อสายยางจากรูที่ปากโอ่งใบที่ 2 กับสายยางที่รูก้น โอ่งใบที่ 3 โดยใช้ขั้วต่อเช่นเดียวกัน
ค. เสียบสายยางที่รูปากโอ่งใบที่ 3 และปล่อยสายยาง ทิ้งไว้4. วิธีบรรจุกรวดและทราย
ก. กรวดและทรายละเอียดที่ใช้ต้องล้างให้สะอาด
ข. วิธีบรรจุกรวดและทรายละเอียดในโอ่งใบที่ 2 และ 3 เหมือนกัน
ค. ใส่กรวดลงก่อนให้สูงพอมิดสายยาง เพื่อกันไม่ให้ ทรายเข้าไปอุดรูสายยาง
ง. แล้วใส่ทรายละเอียดลงไปให้ความสูงของทรายอยู่ใต้ รูบนประมาณ 1 นิ้ว
5. การยกระดับ ช่วยให้การไหลของน้ำดีขึ้น และป้องกันการไหล ย้อนกลับ
ก. โอ่งใบที่ 1 สูงจากระดับพื้น 20 นิ้ว
ข. โอ่งใบที่ 2 สูงจากระดับพื้น 10 นิ้ว
ค. โอ่งใบที่ 3 สูงจากระดับพื้น 3 นิ้ว

























รูปที่ 2 ขั้นตอนของการกรองน้ำให้สะอาด
6. วิธีกรอง
ก. เทน้ำลงในโอ่งใบที่ 1 ใส่คลอรีนประมาณ 1 ช้อนชาและแกว่งสารส้ม (น้ำที่เทลงในโอ่งจะเป็นน้ำที่เสีย คือ สกปรกซึ่งอาจนำมาจากตามแม่น้ำลำคลอง)
ข. น้ำจะถูกกรองโดยโอ่งใบที่ 2 ผ่านกรวดและทรายเอ่อ ขึ้นสวนทางกับแรงดึงดูดของโลก และไหลออกทาง สายยางที่ปากโอ่งใบที่ 2 ไปยังก้นโอ่งใบที่ 3
ค. น้ำจะถูกกรองจากโอ่งใบที่ 3 เช่นเดียวกับโอ่งใบที่ 2
ง. น้ำที่ออกจากโอ่งใบที่ 3 เราดื่มได้เลย จำนวนน้ำที่ได้ ประมาณ 60-70 ลิตรต่อวัน
7. วิธีล้างโอ่งกรอง
ถอดสายยางตรงขั้วต่อออก ปล่อยน้ำจากก้นโอ่งกรองที่ 2 และ 3 ออกจนหมดน้ำขุ่นเท่านั้น
ด้วยวิธีการง่าย ๆ เช่นนี้ เราก็สามารถได้น้ำที่สะอาด น้ำที่ ผ่านขั้นตอนเหล่านี้มาแล้วสามารถนำไปดื่มได้ทันที
นอกจากจะช่วยให้ประโยชน์แก่ผู้ประสบอุทกภัยน้ำท่วม แล้ว เครื่องกรองน้ำแบบง่าย ๆ นี้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ดีสำหรับผู้ที่ บ้านอยู่ตามริมแม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่น่าใช้มากที่สุด คือผู้ที่อาศัยตามหมู่บ้านที่สูบน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ หรือถ้าอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม อย่างใกล้ชิด เช่น หมู่บ้านจัดสรร หรือหมู่บ้านที่มีโครงสร้างสนิทสนมกัน มากตามแบบไทย ๆ ก็อาจดัดแปลงร่วมใจกันสร้างเครื่องกรองน้ำสำหรับ ชุมชนขนาดย่อมได้ โดยช่วยกันสละเงินคนละเล็กคนละน้อย แล้วช่วยกันดู แลรักษา ตัวอย่างที่ทำกันมาแล้วเช่น เช่นที่อำเภอหัวไผ่ จังหวัดอ่างทอง และ ที่โรงเรียนสลัมคลองเตย ซึ่งปรากฏว่า มีน้ำสะอาดบริโภคกันอย่างทั่วถึง
โครงการเกลือคุณภาพ น้ำปลาคุณภาพ












ที่มา http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.tistr.or.th/t/publication/2/55/105-3.gif&imgrefurl=http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp%3Fi1%3D55%26i2%3D26&usg=__pziOyn2SNXYVj6whiNf4ICl2Alg=&h=300&w=536&sz=19&hl=th&start=101&um=1&tbnid=PT8S2jbsTcxVxM:&tbnh=74&tbnw=132&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B3%26ndsp%3D20%26hl%3Dth%26sa%3DN%26start%3D100%26um%3D1
เขียนโดยกัยาณี แก้วกัญจะ 0 ความคิดเห็น



การกรองการกรอง



คือ การแยกสารผสมที่มีสถานะเป็นของแข็งออกจากของเหลว โดยใช้กระดาษกรองซึ่งมีรูพรุนขนาดเล็ก ทำให้อนุภาคของของแข็งนั้นไม่สามารถผ่านกระดาษกรองได้ ส่วนอนุภาคของของเหลวจะผ่านกระดาษกรองได้ ซึ่งในชีวิตประจำวันเราจะคุ้นเคยกับการกรองในรูปของการใช้ผ้าขาวบางในการคั้นน้ำกะทิจากมะพร้าว แผ่นกรองอากาศในเครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์กรองน้ำสะอาดในเครื่องกรองน้ำ เป็นต้น




































การตกตะกอนการตกตะกอน




คือ การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งที่แขวนลอยอยู่ในของเหลว โดยมีหลักการที่สำคัญ คือ การนำสารผสมตั้งทิ้งไว้ เนื่องจากอนุภาคของแข็งที่แฝงอยู่นั้นมีน้ำหนัก ดังนั้นจึงตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ จากนั้นรินอนุภาคของเหลวด้านบนออกจากอนุภาคของของแข็งจะทำให้ได้สารบริสุทธิ์ทั้งสองส่วน ตัวอย่างของผสมที่ใช้วิธีการแยกสารโดยการตกตะกอน คือ น้ำโคลน ประกอบด้วยส่วนของดินที่แขวนลอยในน้ำ เมื่อตั้งทิ้งไว้นานๆ อนุภาคของดินจะตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ ส่วนน้ำจะใสขึ้นสามารถรินแยกออกจากกันได้ เพื่อเป็นการลดเวลาในการตกตะกอนของสารแขวนลอย นักวิทยาศาสตร์จึงได้คิดค้นเครื่องเหวี่ยง (centrifuge) แรงเหวี่ยงดังกล่าวจะทำให้ของแข็งที่แขวนลอยในของเหลวตกตะกอนได้ง่ายและเร็วขึ้น






รูปแสดงเครื่องเหวี่ยงที่ใช้ในการตกตะกอน
เขียนโดย กัยาณี แก้วกัญจะ0 ความคิดเห็น

รูปแสดงผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นลำดับส่วนของน้ำมันดิบ2. การกลั่นลำดับส่วน ใช้แยกสารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลว เนื่องจากองค์ประกอบมีสถานะเหมือนกัน ทำให้จุดเดือดต่างกันไม่มาก ดังนั้นจึงไม่สามารถทำสารให้บริสุทธิ์ด้วยกระบวนการกลั่นธรรมดาได้ เพราะจะได้สารที่กลั่นออกมาไม่บริสุทธิ์อธิบายได้ดังนี้ สารที่ระเหยก่อนยังเป็นไอไม่สมบรูณ์ สารอีกชนิด ก็ระเหยกลายเป็นไอตามมา เมื่อผ่านไปยังเครื่องควบแน่น จะกลั่นตัวได้สารทั้งสองชนิดออกมาจึงเป็นการแยกสารที่ไม่สมบรูณ์ โดยมีหลักการ คือ สามารถแยกสารละลายที่จุดเดือดต่างกันเล็กน้อย และสารที่มีจุดเดือดต่ำจะกลั่นตัวออกมาก่อน เช่น การแยกน้ำออกจากแอลกอฮอล์ (น้ำมีจุดเดือด 100 องศาเซลเซียส แอลกอฮอล์มีจุดเดือด 78.5 องศาเซลเซียส) เมื่อนำสารละลายมากลั่น แอลกอฮอล์จะระเหยกลายเป็นไอก่อน ขณะเดือดนอกจากเกิดไอของแอลกอฮอล์แล้วยังมีไอน้ำระเหยตามมาด้วย เมื่อไอลอยขึ้นสู่คอลัมน์แก้วที่อุณหภูมิต่ำลงเรื่อยๆ ทำให้ไอน้ำควบแน่นกลับสู่ขวดกลั่น ส่วนไอของแอลกอฮอล์จะผ่านไปได้และไปกลั่นตัวที่เครื่องควบแน่น ซึ่งมีความบริสุทธิ์ของแอลกอฮอล์เกือบสมบูรณ์รูปแสดงการกลั่นลำดับส่วนนอกจากนี้ การกลั่นลำดับส่วนยังเป็นการนำสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคุณค่าในน้ำมันดิบออกมาใช้ประโยชน์ได้ด้วยกระบวนการนี้
เขียนโดย ครูจำเริญ สุวรรณประสิทธิ์ 0 ความคิดเห็น


รูปแสดงผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นลำดับส่วนของน้ำมันดิบ2. การกลั่นลำดับส่วน ใช้แยกสารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลว เนื่องจากองค์ประกอบมีสถานะเหมือนกัน ทำให้จุดเดือดต่างกันไม่มาก ดังนั้นจึงไม่สามารถทำสารให้บริสุทธิ์ด้วยกระบวนการกลั่นธรรมดาได้ เพราะจะได้สารที่กลั่นออกมาไม่บริสุทธิ์อธิบายได้ดังนี้ สารที่ระเหยก่อนยังเป็นไอไม่สมบรูณ์ สารอีกชนิด ก็ระเหยกลายเป็นไอตามมา เมื่อผ่านไปยังเครื่องควบแน่น จะกลั่นตัวได้สารทั้งสองชนิดออกมาจึงเป็นการแยกสารที่ไม่สมบรูณ์ โดยมีหลักการ คือ สามารถแยกสารละลายที่จุดเดือดต่างกันเล็กน้อย และสารที่มีจุดเดือดต่ำจะกลั่นตัวออกมาก่อน เช่น การแยกน้ำออกจากแอลกอฮอล์ (น้ำมีจุดเดือด 100 องศาเซลเซียส แอลกอฮอล์มีจุดเดือด 78.5 องศาเซลเซียส) เมื่อนำสารละลายมากลั่น แอลกอฮอล์จะระเหยกลายเป็นไอก่อน ขณะเดือดนอกจากเกิดไอของแอลกอฮอล์แล้วยังมีไอน้ำระเหยตามมาด้วย เมื่อไอลอยขึ้นสู่คอลัมน์แก้วที่อุณหภูมิต่ำลงเรื่อยๆ ทำให้ไอน้ำควบแน่นกลับสู่ขวดกลั่น ส่วนไอของแอลกอฮอล์จะผ่านไปได้และไปกลั่นตัวที่เครื่องควบแน่น ซึ่งมีความบริสุทธิ์ของแอลกอฮอล์เกือบสมบูรณ์รูปแสดงการกลั่นลำดับส่วนนอกจากนี้ การกลั่นลำดับส่วนยังเป็นการนำสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคุณค่าในน้ำมันดิบออกมาใช้ประโยชน์ได้ด้วยกระบวนการนี้
เขียนโดย กัลยาณี แก้วกัญจะ0 ความคิดเห็น




แบบทดสอบเรื่องสารละลายกรดและเบส
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1.. กรดทำปฏิกิริยากับเบส ได้เกลือกับน้ำ เรียกว่าอะไร
ก. สารละลาย
ข. ปฏิกิริยาสะเทิน
ค. การรวมกลุ่มของสาร
ง. การผสมสารเข้าด้วยกัน
2. สมบัติทั่วๆไปของกรดในข้อต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
ก. มีรสเปรี้ยว
ข. มีสมบัติในการกัดได้
ค. นำไฟฟ้าได้
ง. มีรสฝาด
3. กรดไฮโดรคลอริก (HCI) มีประโยชน์ในด้านใด
ก. ใช้ทำยาแอสไฟริน
ข. ใช้แก้กินเปรี้ยว
ค. ใช้ในการถลุงโลหะ
ง. ถูกทุกข้อ
4. การที่ฟินอล์ฟทาลีนจากไม่มีสีเป็นสีแดง เป็นสารละลายชนิดใด
ก. กรด
ข. เบส
ค. กลาง
ง. ระบุไม่ได้
5. สรละลายกรดและเบสสังเคราะห์ขึ้นใช้ในด้านใดบ้าง
ก. ด้านการอาหาร
ข. ด้านการแพทย์
ค. ด้านอุตสาหกรรม
ง. ถูกทุกข้อ

วันศุกร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552

วันพฤหัสบดีที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2552

สารละลาย สารคอลลอยด์ และสารแขวนลอย
สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย
เมื่อผสมสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป อาจจะได้เป็นสารเนื้อเดียว หรือสารเนื้อผสมก็ได้ ขึ้นอยู่กับชนิดของสารที่จะนำมาผสมกันว่าจะรวมกันเป็นเนื้อเดียวกันได้หรือไม่ สำหรับสารที่รวมกันเป็นเนื้อเดียว ภายในสารผสมนั้น อนุภาคของสารหนึ่งจะแทรกอยู่ระหว่างอนุภาคของอีกสารหนึ่งอย่างสม่ำเสมอ จนการสังเกตด้วยตาเปล่าอย่างเดียวจะบอกความแตกต่างของสารผสมเนื้อเดียวเหล่านั้นไม่ได้ สารเหล่านั้นอาจจะเป็นสารละลาย คอลลอยด์ หรือสารแขวนลอย ซึ่งมีสมบัติบางอย่างคล้ายกัน แต่มีขนาดของอนุภาคที่แตกต่างกัน1. สมบัติบางประการของสารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอยสารละลาย หรือ สารละลายแท้ (Ture solution) หมายถึง สารผสมเนื้อเดียวที่อนุภาคของตัวถูกละลายจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 10-7 เซนติเมตร (หรือ 0.001 ไมโครเมตรหรือ 10 อังสตรอม) เช่นสารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต, สารละลายกรดไนตริก , สารละลายกรดซัลฟูริก , สารละลายโซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง ) เป็นต้นคอลลอยด์ (Colloid) มาจากภาษากรีก Kolla + Eidos ซึ่งหมายถึงสารที่มีลักษณะคล้ายกาว เช่น นมสด วุ้น เยลลี่ เป็นต้นคอลลอยด์ (Colloid) หมายถึง สารผสมเนื้อเดียวที่มีอนุภาคของตัวถูกละลาย หรืออนุภาคของสารมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ระหว่าง 10-7 - 10-4 เซนติเมตรสารแขวนลอย (Suspension) หมายถึง สารผสม ที่ประกอบด้วยอนุภาคที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 10-4 เซนติเมตร (หรือ 1 ไมโครเมตร) กระจายอยู่ ถ้าอนุภาคที่อยู่ในสารแขวนลอยมีขนาดใหญ่มากจะมองเห็นส่วนผสมได้ชัดเจน ซึ่งเมื่อวางทิ้งไว้อนุภาคของสารแขวนลอยจะตกตะกอนออกมา แต่ถ้าอนุภาคมีขนาดเล็กจะกระจายแบบกลมกลืนจนดูเสมือนเป็นเนื้อเดียวกัน ซึ่งทำให้แยกออกได้ยากกว่าเป็นสารแขวนลอยหรือคอลลอยด์ดังนั้นสารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอยจึงแบ่งได้โดยอาศัยขนาดของอนุภาคเป็นเกณฑ์ ซึ่งขนาดของสารแขวนลอย > คอลลอยด์ > สารละลาย2.การกรองผ่านกระดาษกรองและเซลโลเฟนถึงแม้ว่าสารแขวนลอยมีขนาดใหญ่ที่สุด แต่บางครั้งก็ดูกลมกลืนจนตัดสินด้วยตาเปล่าไม่ได้ ในทางปฏิบัติจึงใช้วิธีตรวจสอบขนาดของอนุภาคโดยใช้กระดาษกรองและเซลโลเฟนกระดาษกรอง จะกรองอนุภาคที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 10-4 เซนติเมตรขึ้นไปเซลโลเฟน จะกรองอนุภาคที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 10-7 เซนติเมตรขึ้นไปก. สารละลาย จะกรองผ่านได้ทั้งกระดาษกรอง และเซลโลเฟน เพราะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 10-7 เซนติเมตรข. คอลลอยด์ จะกรองผ่านกระดาษกรองได้ แต่กรองผ่านเซลโลเฟนไม่ได้ เพราะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 10-7 เซนติเมตร(จึงผ่านเซลโลเฟนไม่ได้) และเล็กกว่า 10-4 เซนติเมตร(จึงผ่านกระดาษกรองได้) นั่นคือมีขนาดอนุภาคอยู่ระหว่าง 10-7 - 10-4 เซนติเมตรค. สารแขวนลอย จะกรองผ่านกระดาษกรองและเซลโลเฟนไม่ได้ เพราะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 10-4 เซนติเมตร